WHAT IS COMPUTER NETWORK?
What is Computer Network? Why?
เครือข่ายคอมพิวเตอร์คืออะไร? ทำไม?
If any computer is not connected to others it is called "a stand-alone machine". ถ้าหากคอมพิวเตอร์เครื่องไหนไม่ได้เชื่อมต่อกับใคร มันจะถูกเรียกว่า "เครื่องที่โดดเดี่ยว"
A network machine can send/receive packets (bits of data per second) to/from any other machines e.g. Internet. เครืองคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับเครือข่าย จะสามารถส่ง/รับข้อมูล ไปสู่/จากเครื่องอื่นๆ เช่น อินเทอร์เน็ต
We can share our resources such as files, printers etc. to each other through our local area network (LAN) or we can exchange our data through the wide area network (WAN) like Internet. เรายังสามารถแบ่งปันทรัพยากร อาทิ ไฟล์ เครื่องพิมพ์ ให้กันและกันในเครือข่าย ผ่านระบบเครือข่ายเฉาะที่ (แลน) หรือเราสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายวงกว้างอย่างอินเทอร์เน็ตได้ด้วย
What is about the client-server network? เครือข่ายแบบ Server-Client Network เป็นแบบใด? It means that the server computer of "the Media Center" is the manager/boss of other computers which are only the clients. The server computer has been installed with the operating-software-for-server such asWindows2003server/Windows2008server , Linux or Unix, which can manage the client computers of the network. The clients have to obey the server because the latter has the power to control/ban the former. Yes, the clients can never control/manage the server.
ก็หมายความว่า เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) ของศูนย์สื่อคือ ผู้จัดการ/นาย ของเครื่องอืนๆ ที่มีสถานะเป็นแค่ลูกน้อง หรือClient แค่นั้น การที่เครื่องเซิร์ฟเวอร์สามารถบริหารจัดการเครืองลูกข่ายของมันได้นั้น เพราะมันได้ติดตั้งซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการแบบแม่ข่ายเอาไว้นั่นเอง อาทิ Windows2003server/Windows2008server , Linux หรือ Unix ซึ่งเครื่องลูกข่ายจะต้องยอมให้ตนเองถูกจัดการได้ เพราะซอฟต์แวร์ระบบของเครื่องแม่ข่ายสามารถควบคุม/สั่งแบน เครื่องอื่นๆ ได้ ในขณะที่เครื่องอื่นๆ ไม่สามารถบริหารจัดการเครื่องเซิร์ฟเวอร์ได้นั่นเอง
The Common Personal Computer that was installed with the Linux Server Operating System.
เครื่องพีซีบ้านๆ ที่เอามาทำเป็นเครื่องเซิร์ฟเวอร์ โดยนำมาติดตั้งระบบปฏิบัติการลีนิกซ์สำหรับเครื่องข่าย
เครื่องพีซีบ้านๆ ที่เอามาทำเป็นเครื่องเซิร์ฟเวอร์ โดยนำมาติดตั้งระบบปฏิบัติการลีนิกซ์สำหรับเครื่องข่าย
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องมีชื่อเฉพาะตัวที่ไม่ซ้ำใคร เรียกว่า Hostname และต้องมีรหัสหมายเลขเครื่องกำกับไว้ เรียกว่า IP-address และในเครือข่ายแลนก็จะมีแค่เพียงเครื่องแม่ข่ายหรือเซิร์ฟเวอร์เท้านั้น ที่มีรหัสไอพีแอสเดรสแบบคงที่ เรียกว่ามี static IP-address ขณะที่ไอพีแอสเดรสของคอมพิวเตอร์ลูกข่ายทั้งหลาย จะไม่คงที่ หรือDynamic ส่วนจะเป็นรหัสไอพีอะไรนั้น เครื่องเซิรฟเวอร์จะเป็นตัวจัดการให้เอง โดยยึดหลัก FIFO (First In, First Out) ก็หมายความว่า เครื่องลูกข่ายตัวไหนเชื่อมต่อกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ก่อนก็จะๆด้รับการจ่ายรหัสไอพีให้ก่อน-หลัง ตามลำดับไป แต่ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายตัวไหนไปดำเนินการกำหนดรหัสไอพีแอสเดรสของตัวเองเป็นแบบคงที่ละก็ คอมพิวเตอร์เครื่องนั้นๆ ก็จะถูกเครื่องเซิร์ฟเวอร์เฉดหัวออกไปจากระบบ มิเช่นนั้นอาจจะทำให้เกิดปัญหารหัสไอพีชนกันได้ในระบบ และเครื่องเซิร์ฟเวอร์ในฐานะเกตเวย์หรือทางออกสู่อินเทอร์เน็ตของระบบ ก็จะไม่ยอมแบ่งปันการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตให้กับเครื่องนั้นๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น